อ.ดร.มัณฑนา แจ่มกลาง


ตำแหน่งปัจจุบัน : อาจารย์

สถานที่ทำงาน : มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี 111 ถ. มหาวิทยาลัย ต. ในเมือง อ. เมือง จ. นครราชสีมา 30000

E-mail : mjamklang@sut.ac.th, jmantana2519@gmail.com

ประวัติการศึกษา

2541 วิทยาศาสตร์บัณฑิต (วท.บ.) (เทคนิคการแพทย์), มหาวิทยาลัยขอนแก่น/ประเทศไทย
2546 วิทยาศาสตร์มหาบัณฑิต (วท.ม.) (พยาธิวิทยาคลินิก), มหาวิทยาลัยมหิดล/ประเทศไทย
2559 Ph.D. (Microbiology), University of California, Davis, USA

ประสบการณ์การทำงาน

– 2541-2553 นักเทคนิคการแพทย์ ห้องปฏิบัติการจุลชีววิทยา ภาควิชาพยาธิวิทยา คณะแพทยศาสตร์ โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล โดยมีหน้าที่ความรับผิดชอบดังนี้ วินิจฉัยเชื้อจุลชีพก่อโรค เช่น เชื้อแบคทีเรีย เชื้อรา ยีสต์ และเชื้อวัณโรค ที่แยกได้จากผู้ป่วยของโรงพยาบาลรามาธิบดี เทคนิคทางห้องปฏิบัติการที่ใช้ในการตรวจวินิจฉัยเชื้อคือ เทคนิคในการเพาะเชื้อที่ใช้ในห้องปฏิบัติการจุลชีววิทยา และตามด้วย การทดสอบคุณสมบัติของเชื้อทางชีวเคมี ใช้เทคนิคการทดสอบความไวของเชื้อต่อยาต้านจุลชีพ โดยวิธี disk diffusion และวิธี Minimal Inhibitory Concentration (MIC)
ประสบการณ์การสอนจากการเป็นผู้ช่วยสอนวิชาปฏิบัติการจุลชีววิทยาทางการแพทย์ สอนนักศึกษาแพทย์ โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล และวชิระพยาบาล
– 2553-2559 นักศึกษาปริญญาเอกที่ Gelli Lab, Microbiology Graduate Group, UC Davis งานวิจัยมุ่งเน้นในเรื่องของกลไกของเชื้อรา Cryptococcus neoformans ในการรุกรานระบบประสาทส่วนกลาง (the central nervous system) งานวิจัยหลักคือ “The Ephrin receptor tyrosine kinase, EphA2, promotes the migration of Cryptococcus neoformans across the blood-brain barrier”. เทคนิคทางห้องปฏิบัติการที่ใช้ในการทาการทดลองเช่น RT-PCR, qPCR, cloning, biolistics transformation, cell cultures, transcytosis assay, adhesion assay, siRNA gene knockdown, Western Blot assay, etc.
ประสบการณ์สอนจากการเป็นผู้ช่วยสอนระกว่างการศึกษาปริญญาเอก วิชา Genetics and Biotech Lab (BIT161A) in Winter quarter 2014 at UC Davis. วิชา Microbiology Laboratory (MIC101L) in Spring quarter 2015 at UC Davis. วิชา Genetics and Biotech Lab (BIT161A) in Summer session I 2015 at UC Davis. วิชา Microbiology Laboratory (MIC103L) in Fall and Winter quarter 2015 at UC Davis.
– 2559-ปัจจุบัน อาจารย์สังกัดสาขาวิชาปรีคลินิก สานักวิชาวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี

ประวัติการ TRAINING

– กรกฎาคม 2543 – กันยายน 2543 เป็น research fellow ศึกษาหัวข้อ“ Nosocomial Infections and Drug-resistant Microorganisms” ณ. Division of Microbiology, Faculty of Medicine, Juntendo University โตเกียว ประเทศญี่ปุ่น
– กรกฎาคม 2545 – กันยายน 2545 เป็น research fellow ศึกษาหัวข้อ“ Nosocomial Infections and Drug-resistant Microorganisms” ณ. Division of Microbiology, Faculty of Medicine, Juntendo University, โตเกียว ประเทศญี่ปุ่น
– 9-11 กันยายน 2556 RNA seq workshop, Bioinformatics core, University of California, Davis.
– 12-14 กรกฎาคม 2560 Microbiome and Functional Metagenomics Analysis Workshop, มหาวิทยาลัยพระจอมเกล้าธนบุรี กรุงเทพ

ความเชี่ยวชาญและความสนใจ

มีความเชี่ยวชาญในการวินิจฉัยชนิดของเชื้อจุลชีพก่อโรคเช่น แบคทีเรีย เชื้อรา ยีสต์ และเชื้อวัณโรค การทดสอบความไวของเชื้อแบคทีเรียก่อโรคต่อสารต้านจุลชีพ การศึกษาความสัมพันธ์ของโฮสต์และเชื้อจุลชีพ โดยเฉพาะกลไกการทาให้เกิดโรคของเชื้อ Cryptococcus neoformans ที่ใช้ในการผ่าน Blood-Brain Barrier (BBB) โดยการใช้ ligands จากตัวเชื้อยึดเกาะกับตัวรับ (receptors)

ผลงานการตีพิมพ์

Phylycia Aaron, Mantana Jamklang, John Uhrig, Angie Gelli. The human Blood-Brain Barrier Internalizes Cryptococcus neoformans via the EphA2-Tyrosine Kinase Receptor. Cellular Microbiology, 2017 Dec; doi: 10.1111/cmi.12811.
Kiem Vu, Rick Tham, John P. Uhrig, George R. Thompson III, Sarisa Na Pombejra, Mantana Jamklang, Jenifer M. Bautos, Angie Gelli. Invasion of the Central Nervous System by Cryptococcus neoformans requires a Secreted Fungal Metalloprotease. mBio. 3 June 2014, Volume 5 issue 3 e01101-14.
Hong MP, Vu K, Bautos JM, Tham R, Jamklang M, Uhrig JP, Gelli A. Activity of calcium channel pore Cch1 is dependent on a modulatory region of the subunit Mid1 in Cryptococcus neoformans. Eukaryot Cell. 2013 Jan; 12(1):142-50.
Chongtrakool P, Ito T, Ma XX, Kondo Y, Trakulsomboon S, Tiensasitorn C, Jamklang M, Chavalit T, Song JH, Hiramatsu K. Staphylococcal cassette chromosome mec (SCCmec) typing of methicillin-resistant Staphylococcus aureus
strains isolated in 11 Asian countries: a proposal for a new nomenclature for SCCmec elements. Antimicrob Agents Chemother. 2006 Mar;50(3):1001-12.
Jamklang M, Santanirand P. Beta-lactamase enzymes in Gram-negative bacteria. Journal of Medical Technology. 2005, Year 33, Vol 3, page 1187-1197.
Daum RS, Ito T, Hiramatsu K, Hussain F, Mongkolrattanothai K, Jamklang M, Boyle-Vavra S. A novel methicillin-resistance cassette in community-acquired methicillin-resistant Staphylococcus aureus isolates of diverse genetic backgrounds. J Infect Dis. 2002 Nov 1;186(9):1344-7. Epub 2002 Oct 3.
Ma XX, Ito T, Tiensasitorn C, Jamklang M, Chongtrakool P, Boyle-Vavra S, Daum RS, Hiramatsu K. Novel type of staphylococcal cassette chromosome mec identified in community-acquired methicillin-resistant Staphylococcus aureus strains. Antimicrob Agents Chemother. 2002 Apr; 46(4):1147-52.
Poster presentation at 6th International Symposium on Antimicrobial Agents and Resistance, March 7-9, 2007, Singapore.
Jamklang M, Santarasamit P, Nathisuwan, Chongtrakool P, and Santanirand P. ESBL-producing Providencia stuartii in a university hospital, Bangkok, Thailand.

การนำเสนอผลงาน

Oral Presentation at 114th General Meeting American Society for Microbiology, May 17-20, 2014, Boston, Massachusetts.
Cryptococcus neoformans Invades the Central Nervous System by Secreting a Newly Identified Metalloprotease.
Mantana Jamklang, John P. Uhrig, Sarisa Na Pombjera, Angie Gelli.
Poster presentation at Microbial Pathogenesis and Host Response, September 8-12, 2015, Cold Spring Laboratory.
Transcriptome of Human Brain Endothelial cells challenged with Cryptococcus neoformans reveals a central role for a tyrosine kinase receptor-mediated pathway.
Mantana Jamklang, John Uhrig, Angie Gelli.